กลุ่มวิจัยนวัตกรรมการบินและอวกาศ
หัวหน้ากลุ่ม ผศ.ดร. รัฐพล สาครสินธุ์
ความคืบหน้าของกลุ่มวิจัย AIRG
จากการวิจัย เฟรส1 ผู้วิจัยได้ออกแบบรุปแบบปีกที่เลียนแบบธรรมชาติของนกทะเลซึ่งเห็นเห็นได้ว่ามีประสิทธ์ภาพสูงเป็นที่น่าพอใจแต่การทดลองของเรานั้นมีปัญหาอยู่ที่ค่าความดันใต้แผ่นพื้นจำลองนั้นมีความไม่เสถียรค่าแรงดันมีบางจุดที่คาดเคลื่อนไปจากความเป็นจริงอยู่และยังหาข้อสรุปไม่ได้เราต้องการปรับปรุงส่วนของพื้นจำลองใหม่คือส่วนของผิวพื้นเปลี่ยนวัสดุใหม่ ส่วนของท่อส่งความดันใต้พื้นผิว และส่วนของเซนเซอร์รับค่าแรงดัน ซึ่งได้ออกไว้แล้ว ในส่วนของตัวยานเราได้ออกแบบลำตัวและแพนหาง แบบเต็มไว้แล้วต้องเปลี่ยนโหลดเซลมาใช้ชนิดละเอียดและฝังบนตัวยานซึ่งให้ค่าแม่นยำกว่ากว่าแบบติดบนฐานซึ่งออกแบบไว้หมดแล้วเตรียมเข้าอุโมงค์ลม แผนงานทีมวิจัยจะได้ว่าจ้าง บ.เอกชนรับเหมากัดโมเดลเพื่อนำเข้าอุโมงค์ลมและปรับปรุงแผ่นพื้นจำลองขึ้นมา เพื่อทำการทดลองในอุโมงค์ลม ในเฟรส 2 เป็นตัวยานสมบูรณ์
รูปแบบตัวยานที่ออกแบบและคำนวณไว้แล้วและรอทุนและเวลาเข้าอุโมงค์ลม
โครงการเฟรส 3 ออกแบบและการทดลองทางโครงสร้างปีกแบบใหม่วัสดุเป็นคอมโพสิตเบื้องต้น ส่วนของการทดสอบคือ panel แผ่นผิวปีกตัวอย่างมี่ทั้งหมด 4 ตัวอย่าง เริ่มดำเนินการไปแล้ว50%vได้ซื้อวัสดุอุปกรณ์สำหรับวิจัยเกือบ80%ขาดแต่การจ้างแรงงานซึ่งต้องใช้แรงงานนิสิตเป็นหลักงานแต่งานส่วนนี้เป็นการศึกษาทดลองวัสดุแนวทางใหม่เบื้องต้น
![](https://www.eng.src.ku.ac.th/wp-content/uploads/2021/04/1618911792354-1024x357.jpg)
![](https://www.eng.src.ku.ac.th/wp-content/uploads/2021/04/1618911804299-1024x449.jpg)
![](https://www.eng.src.ku.ac.th/wp-content/uploads/2021/04/1618911831812.jpg)
![](https://www.eng.src.ku.ac.th/wp-content/uploads/2021/04/1618911846887.jpg)
![](https://www.eng.src.ku.ac.th/wp-content/uploads/2021/04/1618911857294.jpg)
![](https://www.eng.src.ku.ac.th/wp-content/uploads/2021/04/1618911872865-1024x762.jpg)
ความคืบหน้าที่ได้ทำแล้ว
![](https://www.eng.src.ku.ac.th/wp-content/uploads/2021/04/1618911884128.jpg)